Last Wills and Testament

Posted

     Wills
     Under the Thai Civil and Commercial Code, Thai or foreigners reside in Thailand are eligible to write a Will before their death. The property of the person making the testament falls to the heir or other persons as stated by the will without having to go to prosecution of the will after the deceased of the will testator.

     There are 5 forms of Thai Wills.
     The most popular form of writing is written and dated by lawyer, and the testator must sign in the presence of at least two witnesses at the same time with their signature to confirm the signature of the testator at the time of making the testament. The testament, generally speaking, the attorney will draft the testament to the testator and testify in the testament.

     Foreigners can make wills according to Thailand’s regulation and can be protected under the Civil and Commercial Code of Thailand in all respects.
     The documents to be made are as follows.
     1. Passport or ID card of the testator.
     2. List of inheritors Copy of ID card or passport
     3. List of heirs or inheritors And / or passport or ID card
     4. The list of assets of the testamentary wishing to raise such property to the heirs.
     Including all rights and duties.
 

 

พินัยกรรม

     พินัยกรรม มีประโยชน์อย่างไร
     ภายใต้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศไทยได้บัญญัติให้บุคคลที่ไทยหรือบุคคลต่างประเทศที่พักอาศัยอยู่ในประเทศไทย สามารถทำพินัยกรรมไว้ก่อนถึงแก่ความตายได้ ทั้งนี้ เพื่อให้ทรัพย์สินของบุคคลที่ทำพินัยกรรมนั้นตกแก่ทายาทหรือบุคคลอื่นๆ ตามที่ผู้ทำพินัยกรรมระบุไว้ เพื่อไม่ต้องไปฟ้องร้องแย่งชิงทรัพย์มรดกของผู้ทำพินัยกรรมในภายหลังจากที่ผู้ทำพินัยกรรมถึงกรรมลงไปแล้ว

     พินัยกรรมตามกฎหมายไทยมี 5 รูปแบบ
     แบบที่ได้รับความนิยมที่สุดในปัจจุบัน คือ แบบที่ทำเป็นหนังสือ (Made in writing) ลงวันที่ / เดือน/ ปี และผู้ทำพินัยกรรมต้องลงชื่อต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คนพร้อมกัน ซึ่งบุคคลที่เป็นพยาน 2 คนนั้น จะต้องลงรายมือชื่อ รับรองลายมือชื่อของผู้ทำพินัยกรรมไว้ใน ณ ขณะที่ทำพินัยกรรมนั้นด้วย ซึ่งพินัยกรรมแบบดังที่กล่าวมานี้ โดยทั่วไปจะให้ทนายความเป็นผู้ร่างพินัยกรรมให้แก่ผู้ทำพินัยกรรมและเป็นพยานในพินัยกรรมฉบับดังกล่าวด้วย
     ทั้งนี้ บุคคลต่างชาติก็สามารถทำพินัยกรรมตามแบบของประเทศไทยได้ และสามารถได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศไทยทุกประการ
     เอกสารที่ใช้ทำพินัยกรรม มีดังนี้
     1. หนังสือเดินทางหรือบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ทำพินัยกรรม
     2. รายชื่อผู้จัดการมรดก และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือหนังสือเดินทาง
     3. รายชื่อทายาทหรือผู้รับมรดก และ/หรือหนังสือเดินทางหรือสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
     4. รายการทรัพย์สินต่างๆของผู้ทำพินัยกรรมที่มีความประสงค์ยกทรัพย์สินเช่นว่านั้นให้แก่ทายาท
         รวมตลอดทั้งสิทธิและหน้าที่ต่างๆ
 

 

______________________________________________________

Office Hours: Mon. – Fri. (08:30 – 16:30) Tel. O2-661-7038/-9

Urgent! Call 089-890-7447 or 081-618-2028

in order to make an appointment on public holiday or Saturday and Sunday

www.suwatlaw.com

www.thailandnotary.com

E-mail: Suwatlaw@hotmail.com

______________________________________________________